วันจันทร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2564

คุยประกันกับ OneNut ตอน " หากสูญเสียการได้ยิน (Loss of Hearing)"






ในชีวิตประจำวันสิ่งที่ทำให้เราสะดวกต่อการทำความเข้าใจเรื่องราว ไม่ว่าจะเป็นการประสานงาน การติอต่อธุรกิจ หรือ การสื่อสารทั่วไป นั่นคือ การพูด การสัมผัส การมองเห็น การได้ยิน และ การตีความ 



จะเป็นอย่างไรหากวันหนึ่งต้องเผชิญปัญหาจากการได้ยิน ทำให้เราไม่สามารถจับใจความ เหตุการณ์ หรือ เรื่องราว นั้น ได้แม่นยำอย่างเคย 
"ประสิทธิภาพในการสื่อสารลดลง"


เช่น..ตัวอย่าง 👇 






เหตุการณ์ตัวอย่างด้านบน อาจทำให้การใช้ชีวิตไม่สะดวกอย่างเดิม แล้วเมื่อเป็นบ่อยครั้ง ความกังวลใจเริ่มเกิดขึ้นตามมา อาการที่เกิดขึ้น "การกระทบกับการสื่อสาร การมีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้าง" 



"หากอาการดังกล่าวเกิดขึ้นจากโรค หรือ อุบัติเหตุ ฉับพลัน ผลกระทบที่เกิดขึ้นอาจจะมากกว่า เนื่องจากต้องมีการพบแพทย์การเข้ารักษาพยาบาล"



 และมากกว่านั้น 



 "การสูญเสียการได้ยิน" "สูญเสียความสามารถในการดำรงชีพ"
ส่วนหนึ่งเป็นเรื่องความปลอดภัย การไม่ได้ยินเสียง อาจทำให้ประสบภัยรุนแรงได้






การสร้างความคุ้มครองโรคร้ายแรงรับเงินก้อนดูแลตนเองเมื่อประสบปัญหา จึงเป็นการบรรเทาภัยได้ระดับหนึ่ง ช่วยชะลอปัญหาเรื่องการเงิน ป้องกันเงินเก็บหลุดกรอบ ที่เราตั้งใจวางไว้ ซึ่งทั้งหมดป้องกันได้ ด้วย "การกระจายความเสี่ยง"



 "รายละเอียดการให้ความคุ้มครองระบุตามสัญญากรมธรรม์ประกันภัย สำหรับการพิจารณาเป็นไปตามนโยบายของแต่ละบริษัท" 




คำนิยามโรคร้ายแรง การสูญเสียการได้ยิน ( Loss of Hearing)

การสูญเสียประสิทธิภาพของการฟังของหูทั้งสองข้างโดยไม่สามารถรักษาให้กลับคืนสู่สภาพ เดิมได้ ซึ่งเป็นผลมาจากโรคหรืออุบัติเหตุ การวินิจฉัยจะต้องทำโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทาง หู คอ จมูก และมีหลักฐานทางการแพทย์ยืนยัน โดยมีผลการทดสอบการได้ยิน (Audiometry) และมีค่าผลการตรวจรับเสียง (Sound threshold tests) ที่ 80 เดซิเบล หรือมากกว่าในทุกความถี่ และการสูญเสียนี้ต้องคงอยู่ต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 180 วัน 



"การป้องกันความเสี่ยง"
"การสร้างความคุ้มครอง" เป็นสิ่งที่คุณสามารถทำเพื่อตนเองและคนที่รักได้ค่ะ
ด้วยความปรารถนาดี Onenutlifeplanner MTLP53



อ้างอิง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

บทความล่าสุด

คุยประกันกับ OneNut ตอน "รอยโรค กลไกการเกิดโรค อาการแสดงของโรค จะรู้ได้อย่างไร"

เรามาทำความรู้จัก พระเอกของเราก่อนค่ะ นั่นคือ   " พยาธิแพทย์  (Pathologist)"    พยาธิแพทย์  (Pathologist)  มักถูกเข้าใจผิดว่าเป็นห...